Skip to content

Green color

หน้าหลัก arrow ผลงานวิจัย
Assoc. Prof. Dr.Boonrit Prasartkaew PDF พิมพ์ อีเมล์
เขียนโดย Administrator   



 

371b3127-150.jpg

รองศาสตราจารย์ ดร.บุณย์ฤทธิ์ ประสาทแก้ว
Associate Professor Boonrit Prasartkaew (D.Eng.)

 

หน่วยงาน ภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะวิศวกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี

โทรศัพท์ 088-242-5691, 0-2549-3564 โทรสาร 0-2549-3432

E-mail:  อีเมลนี้จะถูกป้องกันจากสแปมบอท แต่คุณต้องเปิดการใช้งานจาวาสคริปเพื่ออ่านมันได้

  

ประวัติการศึกษา

ปี

ระดับการศึกษา

วุฒิ

สาขา

ชื่อสถาบัน

2554

ปริญญาเอก

D.Eng.

Energy

Asian Institute of Technology (AIT)

2544

ปริญญาโท

วศ..

วิศวกรรมเครื่องกล

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (KMUTT)

2537

ปริญญาตรี

วศ.บ.

วิศวกรรมเครื่องกล

สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล (RIT)

 

ประวัติการรับราชการ 

ปี

ตำแหน่ง

หน่วยงาน

2538-2547

อาจารย์ 1 ระดับ 3

คณะวิศวกรรมศาสตร์ RMUTT

2538-ปัจจุบัน

วิศวกรเครื่องกล (เลขทะเบียน ภก.11644)

สภาวิศวกร

2545-2549

หัวหน้าภาควิชาวิศวกรรมเครื่องกล

คณะวิศวกรรมศาสตร์ RMUTT

2545-2549

กรรมการบริหารคณะวิศวกรรมศาสตร์

คณะวิศวกรรมศาสตร์ RMUTT

2547-2564

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ระดับ 8

คณะวิศวกรรมศาสตร์ RMUTT

2548-2561

เลขานุการและหรือกรรมการสมาคม

สมาคมวิศวกรเครื่องกลไทย (TSME)

2557-2565

หัวหน้าสำนักงานบัณฑิตศึกษา

คณะวิศวกรรมศาสตร์ RMUTT

2557-ปัจจุบัน

กรรมการบริหารคณะวิศวกรรมศาสตร์

คณะวิศวกรรมศาสตร์ RMUTT

2558-2560

ผู้รับผิดชอบหลักสูตร วศ.บ.(วิศวกรรมเครื่องกล)

คณะวิศวกรรมศาสตร์ RMUTT

2561-ปัจจุบัน

กรรมการประจำคณะวิศวกรรมศาสตร์

คณะวิศวกรรมศาสตร์ RMUTT

2562-ปัจจุบัน

ผู้รับผิดชอบหลักสูตร วศ.ม.(วิศวกรรมเครื่องกล)

คณะวิศวกรรมศาสตร์ RMUTT

2564-ปัจจุบัน

รองศาสตราจารย์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ RMUTT

2565-ปัจจุบัน

ผู้ช่วยคณบดี

คณะวิศวกรรมศาสตร์ RMUTT

 

ความเชี่ยวชาญ

1) Energy and Renewable Energy

2) Combustion

3) Applied Fluid Heat

 

ประสบการณ์ศึกษา/ฝึกอบรม/ดูงานต่างประเทศ

1996: Instrumentation and Power Engineering, Canada

1997: Computer Integrated Manufacturing System, Israel

2004: Co-operative Education for Graduated Student, Germany

2005: Research and Technology Transfer, Japan

2006: Vocational Education, Singapore

2007: Renewable Energy, Spain

 

ภาพงานวิจัย (บางส่วน) โดย รองศาสตราจารย์ ดร.บุณย์ฤทธิ์ ประสาทแก้ว 

 

ผลงานตีพิมพ์เผยแพร่

1) Boonrit Prasartkaew, S. Kumar, A low carbon cooling system using renewable energy resources and technologies, Energy and Buildings 42 (2010), pp. 1453–1462. (ISI: Q1)

2) Boonrit Prasartkaew and S. Kumar, Experimental Study on the Performance of a Solar-Biomass Hybrid Air-Conditioning System. Renewable Energy 57 (2013), pp. 86-93. (ISI: Q1)

3) Boonrit Prasartkaew, Mathematical Modeling of an Absorption Chiller System Energized by a Hybrid Thermal System: Model Validation, Energy Procedia 34 (2013), pp. 159-172. (Scopus)

4) Boonrit Prasartkaew and S. Kumar, Design of a Renewable Energy Based Air-conditioning System, Energy and Buildings 68(A) (2014), pp. 156-164(ISI: Q1)

5) Boonrit Prasartkaew, Performance Test of a Small Size LiBr-H2O Absorption Chiller, Energy Procedia 56, (2014), pp. 487 – 497. (Scopus)

6) Boonrit Prasartkaew, Amnaj Ngernplabpla and Tinnakorn Poowadin, Control System of a Concentrated Solar Heliostat, RMUTI Journal Special Issue 1 2015, The 6th International Conference on Science, Technology and Innovation for Sustainable Well-Being (STISWB VI), (2015), pp. 55-62.

7) Tinnakorn Poowadin, Sai Sriyotha and Boonrit Prasartkaew, Performance Test of a Horizontal Axis Wind Turbine Using Cambered Airfoil (Clark Y) as Blade, RMUTI Journal Special Issue 1 2015, The 6th International Conference on Science, Technology and Innovation for Sustainable Well-Being (STISWB VI), (2015), pp. 42-45.

8) Thosapon Katejanekarn and Boonrit Prasartkaew, Impacts of Window Frames on Building Energy Consumption, Mahasarakham International Journal of Engineering Technology 3(1), (2016), pp. 6-10.

9) B. Prasartkaew and N. Phuangpornpitak, Performance Test of a Combined Windmill and Windturbine Blades Wind Machine, IEET International Electrical Engineering Transactions, ISSN 2465-4256, 2(2(3)), (2016), pp. 76-82.

10) N. Phuangpornpitak and B. Prasartkaew, A Methodology for Forecasting Electrical Energy Demand, IEET International Electrical Engineering Transactions, ISSN 2465-4256, 3(1(4)), (2017), pp. 24-28.

11) Boonrit Prasartkaew, A novel direct-fired porous-medium boiler, IOP Publishing, IOP Conf. Series: Materials Science and Engineering 297 (2017), doi:10.1088/1757-899X/297/1/012058, pp. 1-9. (Scopus)

12) Boonrit Prasartkaew, Efficiency improvement of a concentrated solar receiver for water heating system using porous medium, IOP Publishing, IOP Conf. Series: Materials Science and Engineering 297 (2017), doi:10.1088/1757-899X/297/1/012059, pp. 1-9. (Scopus)

13) Boonrit Prasartkaew, Application of Porous Medium for Efficiency Improvement of a Concentrated Solar Air Heating System, IOP Publishing, IOP Conf. Series: Earth and Environmental Science, 114 (2018), doi :10.1088/1755-1315/114/1/012006, pp. 48-55. (Scopus)

14) Buncha Puttakoon, Boonrit Prasartkaew and Kitipong Jaojaruek Improvement of Heat Transfer on Solid Fuel Combustor System Using Waste Steel Nuts as Porous Media, International Energy Journal (IEJ), Volume 20, Issue No. 4, pp. 367-646. (ISI, Scopus Q3)

15) Prasartkaew, C., Jongsawat, N., Prasartkaew, B., Kanchanasatian, K., The Use of the Internet of Things for a More Effective and Efficient way of Growing Rice, International Conference on ICT and Knowledge Engineering, 2020, 2020-November, DOI: 10.1109/ICTKE50349.2020.9289892. (Scopus)

16) Boonrit Prasartkaew and Somboon Sukpancharoen, 2021, An experimental investigation on a novel direct-fired porous boiler for the low-pressure steam applications, Case Studies in Thermal Engineering, 28, 101454. (ISI Q1, Scopus Q1)

17) Somboon Sukpancharoen and Boonrit Prasartkaew, 2021, Combined heat and power plants using multi-objective Henry gas solubility optimization algorithm: a thermodynamic investigation of energy, exergy, and economic (3E) analysis, Heliyon, 7 (9), E08003. (ISI, Scopus Q1)

 

18) Boonrit Prasartkaew and S. Kumar, The Quasi-steady State Performance of a Solar-Biomass Hybrid Cooling System, The Second TSME International Conference on Mechanical Engineering (TSME-ICoME), (2011), Thailand.

19) Boonrit Prasartkaew and S. Kumar, Assessment of Biomass Feedstock as Heat Sources Required for a Solar-biomass Cooling System, The 3rd TSME-ICoME, (2012), Chiang-rai.

20) Boonrit Prasartkaew, Renewable Energy Based Active Cooling System, The 10th Eco-Energy and Materials Science and Engineering Symposium, (2012), Thailand.

21) Boonrit Prasartkaew, Numerical Simulation of a Solar-biomass Hybrid Cooling System: Model Validation, The 10th Eco-Energy and Materials Science and Engineering Symposium, (2012), Thailand.

22) Amnaj Ngernplabpla and Boonrit Prasartkaew, Experimental Investigation on the Intensity Efficiency of a Solar Heliostat System, 2013 Alternative Energy in Developing Countries and Emerging Economies (AEDCEE), (2013), Thailand.

23) Boonrit Prasartkaew, Auxiliary Heater Sizing for a Solar-Biomass Hybrid Cooling System, 2013 Alternative Energy in Developing Countries and Emerging Economies (AEDCEE), (2013), Thailand.

24) Thosapon Katejanekarn and Boonrit Prasartkaew, Impacts of Window Frames on Building Energy Consumption, The Fifth International Conference on Science, Technology and Innovation for Sustainable Well-Being (STISWB V), (2013), Lao.

25) Boonrit Prasartkaew and Thosapon Katejanekarn, Heat Losses Evaluation of a Renewable Energy Based Air Conditioning System, The Fifth International Conference on Science, Technology and Innovation for Sustainable Well-Being (STISWB V), (2013), Lao.

26) Boonrit Prasartkaew and Amnaj Ngernplabpla, Investigation on the Performance of a Paraboloids Heliostat for Concentrated Central Receiver Solar Collector, 2013 International Conference on Frontiers of Environment, Energy and Bioscience (ICFEEB), (2013), China.

27) Boonrit Prasartkaew and Thosapon Katejanekarn, Actual Performance Evaluation of a Solar-Biomass Hybrid Cooling System, The 4th TSME International Conference on Mechanical Engineering, (2013), Thailand.

28) Boonrit Prasartkaew, Boonchai Riangvilaikul, and S. Kumar, Theoretical Study on the Performance of Liquid Desiccant Packed Bed Tower, The 3rd International Symposium on Engineering, Energy and Environments (ISEEE), (2013), Thailand.

29) Boonrit Prasartkaew, Performance Test of a Small Size LiBr-H2O Absorption Chiller, The 11th Eco-Energy and Materials Science and Engineering Symposium, (2013), Thailand.

30) Boonrit Prasartkaew and S. Kumar, Experimental Investigation on the Influence of Operating Parameters on the Performance of a Renewable Energy Based Air-conditioning System, The 1st International Conference on Engineering Science and Innovative Technology (ESIT), (2014), Thailand, pp.235-241.

31) Chitmongkol Pongsing and Boonrit Prasartkaew, Experimental Investigation on the Performance of a Porous-Medium Combustor for Solid Feedstock, The 1st International Conference on Engineering Science and Innovative Technology (ESIT), (2014), Thailand, pp.256-261.

32) Boonrit Prasartkaew, Amnaj Ngernplabpla and Tinnakorn Poowadin, Control System of a Concentrated Solar Heliostat, The 6th International Conference on Science, Technology and Innovation for Sustainable Well-Being (STISWB VI), (2014), Cambodia pp. ENE08-ID145-1-9.

33) Boonrit Prasartkaew, Boonchai Riangvilaikul, and S. Kumar, Experimental Investigation on the Performance of a Liquid Desiccant Packed Bed Tower, International Conference on Mechanical, Civil and Material Engineering (ICMCME), (2014), Thailand, pp.164-171.

34) Boonrit Prasartkaew and Tinnakorn Poowadin, Performance Test of a 20-TR Adsorption Chiller, The 6th International Conference on Science, Technology and Innovation for Sustainable Well-Being (STISWB VI), (2014), Cambodia, pp. ENE05-ID144-1-7.

35) Thosapon Katejanekarn and Boonrit Prasartkaew, Performance Test of a Silica Gel Dehumidifier, The 6th International Conference on Science, Technology and Innovation for Sustainable Well-Being (STISWB VI), 28-30 August 2014, Siem Reap, Kingdom of Cambodia, pp. ENE20-ID028-1-7. [Best-paper Awarded]

36) Tinnakorn Poowadin, Sai Sriyotha and Boonrit Prasartkaew, Performance Test of a horizontal Axis Wind Turbine Using Cambered Airfoil (Clark Y) as Blade, The 6th International Conference on Science, Technology and Innovation for Sustainable Well-Being (STISWB VI), (2014), Cambodia, pp. ENE10-ID108-1-7.

37) Praphon Chooprasert and Boonrit Prasartkaew, Effects of Compression Ratio on the Performance of EFI Gasoline Engine Fueled with E85-Gasohol, The 5th TSME International Conference on Mechanical Engineering, (2014), Thailand, pp. AEC001-1-9.

38) Boonrit Prasartkaew, Theoretical Study on the Influences of Operating Parameters on the Performance of a Solar-Biomass Hybrid Cooling System, The 5th TSME International Conference on Mechanical Engineering, (2014), Thailand, pp. ETM011-1-12.

39) Boonrit Prasartkaew, B. Riangvilaikul, and S. Kumar, Mathematical Modeling of a Liquid Desiccant Packed Bed Tower: Model Validation, The 5th TSME International Conference on Mechanical Engineering, (2014), Thailand, pp. ETM012-1-9.

40) Thawin Ponsen and Boonrit Prasartkaew, Pulsation Gas Flow Porous Medium Burner Fueled with Solid Feedstock, The 5th TSME International Conference on Mechanical Engineering, (2014), Thailand, pp. ETM022-1-9.

41) Boonrit Prasartkaew and Chakkawan Boonwan, Comparative Study on the Performance of a Porous Medium Combustor Fueled with Solid Feedstock, 13th Eco-Energy and Materials Science and Engineering Symposium, (2016), Thailand, pp.320-324.

42) Boonrit Prasartkaew and N. Phuangpornpitak, Performance Test of a Combined Windmill and Wind-turbine Blades Wind Machine, 13th Eco-Energy and Materials Science and Engineering Symposium, (2016), Thailand, pp.313-319.

43) N. Phuangpornpitak and Boonrit Prasartkaew, A Study of Electricity Demand Forecasting of Sakonnakhon Province, 13th Eco-Energy and Materials Science and Engineering Symposium, (2016), Thailand, pp.59-63.

44) Boonrit Prasartkaew, Application of Porous Medium for Efficiency Improvement of a Concentrated Solar Air Heating System, 2017 International Conference on Materials and Intelligent Manufacturing (ICMIM), (2017), Singapore, pp.161-168.

45) Boonrit Prasartkaew, A Novel Direct-Fired Porous-Medium Boiler, The 8th TSME International Conference on Mechanical Engineering, (2017), Thailand, pp.1464-1472.

46) Boonrit Prasartkaew, Efficiency Improvement of a Concentrated Solar Receiver for Water Heating System Using Porous Medium, The 8th TSME International Conference on Mechanical Engineering, (2017), Thailand, pp.1161-1169.

47) N. Phuangpornpitak and B. Prasartkaew, Design aspect of rooftop solar photovoltaic system, 14th Eco-Energy and Materials Science and Engineering Symposium, (2018), Japan.

48) B. Prasartkaew and N. Phuangpornpitak, An Experimental Study on the Performance of Multi-Purpose Solar Heating/Cooking System, 14th Eco-Energy and Materials Science and Engineering Symposium, (2018), Japan.

49) B. Prasartkaew, Experimental Study on the Performance of a Direct-Fired Porous Medium Boiler, 14th Eco-Energy and Materials Science and Engineering Symposium, (2018), Japan.

50) B. Puttakoon and B. Prasartkaew, Development of Porous Medium Combustor Operating on Solid Fuel, 14th Eco-Energy and Materials Science and Engineering Symposium, (2018), Japan, pp.59-63.

51) N. Phuangpornpitak and B. Prasartkaew, Design and Analysis of a Single-Phase Hybrid Renewable Energy Systems, 14th Eco-Energy and Materials Science and Engineering Symposium, (2018), Japan.

52) Buncha Puttakoon and Boonrit Prasartkaew, Experimental study of Porous Medium Combustor Operating on Solid Fuel, Pure and Applied Chemistry International Conference (PACCON), (2019), Bangkok, Thailand, pp.153-158.

 

53) บุณย์ฤทธิ์ ประสาทแก้ว, 2545, “แบบจำลองทางคณิตศาสตร์เพื่อใช้ทำนายพฤติกรรมการระเหยและการเผาไหม้ของละอองเชื้อเพลิงเหลวภายในวัสดุพรุน”วารสารวิศวกรรมศาสตร์ ราชมงคล ฉบับที่ 2, (2545), ISSN 1685-5280, หน้า 58 ถึง 63. (TCI1)

54) บุณย์ฤทธิ์ ประสาทแก้ว, 2548, “หุ่นยนต์เพื่อการสำรวจสถานที่เสี่ยงภัย”วารสารวิศวกรรมศาสตร์ ราชมงคลธัญบุรี ฉบับที่ 6, (2548), ISSN 1685-5280, หน้า 86 ถึง 93. (TCI1)

55) บุณย์ฤทธิ์ ประสาทแก้ว, 2549, “การปรับแต่งเครื่องยนต์เพี่อใช้เอทานอลเป็นเชื้อเพลิง “วารสารวิศวกรรมศาสตร์ ราชมงคลธัญบุรี ฉบับที่ 2, (2549), ISSN 1685-5280, หน้า 21 ถึง 29. (TCI1)

56) บุณย์ฤทธิ์ ประสาทแก้ว, 2551, “เติมน้ำมันแกสโซฮอล์ดีจริงหรือ”วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มทร. ธัญบุรีฉบับที่ 1 ประจำเดือนมีนาคม-มิถุนายน, ISSN 1905-6990 หน้า 26 ถึง 29. (TCI1)

57) ทสพล เขตเจนการ และ บุณย์ฤทธิ์ ประสาทแก้ว, 2558, การทดสอบสมรรถนะของเครื่องดูดความชื้นอากาศที่ใช้ซิลิกาเจลวารสาร มทร.อีสาน ฉบับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, Vol. 8 No. 1 (2015): มกราคม - เมษายน 2558, ISSN 1906-215X, หน้า 34-50(TCI2)

58) มานพ แย้มแฟง และ บุณย์ฤทธิ์ ประสาทแก้ว, 2562, การออกแบบและสร้างเครื่องสไลด์เหง้าบัวเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการแปรรูปผลิตผลทางการเกษตร. วารสารวิศวกรรมศาสตร์ ราชมงคลธัญบุรี ฉบับที่ 1 ประจำเดือน มกราคม-มิถุนายน, (2562), ISSN 1685-5280, หน้า 139 ถึง 148. (TCI1)

59) บัญชา พุทธากูล บุณย์ฤทธิ์ ประสาทแก้ว, (2563)การศึกษาเชิงทดลองการเผาไหม้เชื้อเพลิงแข็งชีวมวลในเตาเผาแบบมีวัสดพรุนวารสารพัฒนาเทคนิคศึกษา ปีที่ 34 ฉบับที่ 122 เม.ย.- มิ.ย. 2565นน. (TCI2)

 

60) บุณย์ฤทธิ์ ประสาทแก้ว และสำเริง จักรใจ, “การระเหยและการเผาไหม้ของละอองเชื้อเพลิงเหลวภายในวัสดุพรุน”การประชุมวิชาการเครือข่ายวิศวกรรมเครื่องกลแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 15, (2544), กรุงเทพฯหน้า CM-34 ถึง CM-43.

61) บุณย์ฤทธิ์ ประสาทแก้วสถาพร ทองวิค และ เอส. คูมาร์, 2555, ระบบปรับอากาศพลังงานร่วมแสงอาทิตย์-ชีวมวลการประชุมวิชาการเครือข่ายพลังงานแห่งประเทศไทยครั้งที่ 8, (2555), มหาสารคาม.

62) บุณย์ฤทธิ์ ประสาทแก้ว และ เอส. คูมาร์, 2555, การหาขนาดระบบผลิตและเก็บน้ำร้อนสำหรับระบบทำความเย็นพลังงานหมุนเวียนการประชุมวิชาการเครือข่ายวิศวกรรมเครื่องกลแห่งประเทศไทยครั้งที่ 26, (2555), เชียงราย.

63) บุณย์ฤทธิ์ ประสาทแก้ว, 2556, การหาตำแหน่งและขนาดที่เหมาะสมของถังน้ำร้อนสำหรับระบบทำความเย็นพลังงานร่วมแสงอาทิตย์-ชีวมวลการประชุมวิชาการเครือข่ายพลังงานแห่งประเทศไทยครั้งที่ 9, (2556), จังหวัดนครนายก.

64) สุพัฒน์ ทองหนูนุ้ยบุณย์ฤทธิ์ ประสาทแก้ว และ สถาพร ทองวิค, 2557, ศึกษาสภาวะที่เหมาะสมต่อการผลิตไฟฟ้าและน้ำร้อนด้วยเซลล์แสงอาทิตย์ในประเทศไทยการประชุมวิชาการสมาคมวิศวกรรมเกษตรแห่งประเทศไทยระดับชาติครั้งที่ 15 และระดับนานาชาติครั้งที่ 7, (2556), พระนครศรีอยุธยา.

65) บุณย์ฤทธิ์ ประสาทแก้ว และ ประยุทธ ดวงคล้ายผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงค่าอัตราส่วนการอัดที่มีต่อสมรรถนะของเครื่องยนต์จุดระเบิดด้วยประกายไฟที่ใช้เอธานอลเป็นเชื้อเพลิงการประชุมวิชาการเครือข่ายวิศวกรรมเครื่องกลแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 28, (2557), ขอนแก่นหน้า 210 ถึง 216.

66) อิศกฤตา โลหพรหมณัฐธพงษ์ มณีทิพย์ และ บุณย์ฤทธิ์ ประสาทแก้วการผลิตแก๊สไฮโดรเจนโดยใช้พลังงานแสงอาทิตย์การประชุมวิชาการเครือข่ายวิศวกรรมเครื่องกลแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 28, (2557), ขอนแก่นหน้า 1295 ถึง 1320.

67) พงษ์ศักดิ์ พูลศรีมานพ แย้มแฟงจักรวาล บุญหวาน และ บุณย์ฤทธิ์ ประสาทแก้วการผลิตแก๊สไฮโดรเจนโดยใช้พลังงานแสงอาทิตย์การประชุมวิชาการเครือข่ายวิศวกรรมเครื่องกลแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 28, (2557), ขอนแก่นหน้า 1303 ถึง 1310.

68) ประพนธ์ ชูประเสริฐ และ บุณย์ฤทธิ์ ประสาทแก้วการทดสอบสมรรถนะเครื่องยนต์ระบบหัวฉีด EFI ที่ใช้แก๊สโซฮอล์ E85 เป็นเชื้อเพลิงการประชุมสัมมนาเชิงวิชาการรูปแบบพลังงานทดแทนสู่ชุมชนแห่งประเทศไทย ครั้งที่7, (2557), ประจวบคีรีขันธ์หน้า 210 ถึง 215.

69) ธัชพล กิ่งก้าน และ บุณย์ฤทธิ์ ประสาทแก้วการกลั่นเอทานอลโดยใช้ปั้มความร้อนแบบอัดไอการประชุมวิชาการเครือข่ายวิศวกรรมเครื่องกลแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 29, (2558), นครราชสีมาหน้า TSF26-1 ถึง 6.

70) บัญชา พุทธากูล และ บุณย์ฤทธิ์ ประสาทแก้วเตาเผาเชื้อเพลิงแข็งแบบมีวัสดุพรุนการประชุมสัมมนาเชิงวิชาการรูปแบบพลังงานทดแทนสู่ชุมชนแห่งประเทศไทยครั้งที่ 8, (2558), ปทุมธานีหน้า 342 ถึง 346.

71) ไกรวุฒิ แก้วขวัญ และ บุณย์ฤทธิ์ ประสาทแก้วการหาค่าอัตราส่วนการอัดและวิธีการจุดระเบิดที่เหมาะสมสำหรับเครื่องยนต์ที่ใช้เอทานอลบริสุทธิ์ต่ำเป็นเชื้อเพลิงการประชุมวิชาการและการนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 7 “การพัฒนาคุณภาพงานวิจัยสู่สังคม”, (2559), ปทุมธานีหน้า 274 ถึง 286.

72) อิศกฤตา โลหพรหมชนิดา ป้อมเสนสุระศักดิ์ ศรีปาน และ บุณย์ฤทธิ์ ประสาทแก้วปัจจัยที่มีผลต่อการผลิตแก๊สไฮโดรเจนโดยใช้ระบบผลิตไฟฟ้าและน้ำร้อนร่วมพลังงานแสงอาทิตย์การประชุมวิชาการเครือข่ายวิศวกรรมเครื่องกลแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 30, (2560), นครนายกหน้า ETM02-1 ถึง 8.

73) บุณย์ฤทธิ์ ประสาทแก้ว มานพ แย้มแฟง และ อิศกฤตา โลหพรหมการวิเคราะห์ประสิทธิภาพของระบบผลิตแก๊สไฮโดรเจนที่ให้พลังงานด้วยระบบ PV/T, การประชุมวิชาการเครือข่ายวิศวกรรมเครื่องกลแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 30, (2560), นครนายกหน้า ETM09-1 ถึง 7.

74) รุ่งเพชร เกษอินทร์ และ บุณย์ฤทธิ์ ประสาทแก้วการเพิ่มประสิทธิภาพของตัวเก็บความร้อนแสงอาทิตย์แบบมีการเพิ่มความเข้มแสงโดยใช้วัสดุพรุนการประชุมวิชาการเครือข่ายวิศวกรรมเครื่องกลแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 30, (2560), นครนายกหน้า TSF11-1 ถึง 7.

75) นรนชัย เที่ยงธรรม และ บุณย์ฤทธิ์ ประสาทแก้วหม้อไอน้ำแบบที่มีการเผาไหม้และระเหยโดยตรงภายในวัสดุพรุนโดยไม่มีการสูญเสียความร้อนจากไอเสียการประชุมวิชาการเรื่องการถ่ายเทพลังงานความร้อนและมวลในอุปกรณ์ด้านความร้อนและกระบวนการ (ครั้งที่ 17), (2561), ลำปางหน้า 1 ถึง 6.

76) อนันต์ ปานกล่ำ และ บุณย์ฤทธิ์ ประสาทแก้วแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของเครื่องกำเนิดไอน้ำแบบมีวัสดุพรุนที่มีการเผาไหม้โดยตรงการประชุมวิชาการระดับชาติ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสนครั้งที่ 15, (2561), นครปฐมหน้า 1 ถึง 11.

77) อธิบดี กลับสูงเนิน และ บุณย์ฤทธิ์ ประสาทแก้วการศึกษาทดลองเกี่ยวกับสมรรถนะของเครื่องกำเนิดไอน้ำแบบท่อขดการประชุมวิชาการเครือข่ายวิศวกรรมเครื่องกลแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 33, (2562)อุดรธานีหน้า 780-784.

78) วัชรินทร์ กลับสูงเนิน และ บุณย์ฤทธิ์ ประสาทแก้วการวิเคราะห์สมรรถนะจากแบบจ้าลองของเครื่องกำเนิดไอน้ำแบบท่อขดการประชุมวิชาการเครือข่ายวิศวกรรมเครื่องกลแห่งประเทศไทย ครั้งที่ 33, (2562)อุดรธานีหน้า 772-779.

 

รางวัลที่ได้รับ:

1. รางวัลชนะเลิศ ประเภทลดมลพิษโครงการแข่งขันการใช้เอทานอลกับรถจักรยานยนต์จัดโดยคณะกรรมาธิการการพลังงาน สภาผู้แทนราษฎร, (2004).

2. รางวัลเกียรติยศ สถิติสูงสุดอันดับ 3 ระดับประเทศโครงการฮอนด้าประหยัดเชื้อเพลิง ปีที่ 7, จัดโดยบริษัท เอ.พี. ฮอนด้า จำกัด, (2004)

3. Best Paper Award, from oral presentation: ‘Thosapon Katejanekarn and Boonrit Prasartkaew, Performance Test of a Silica Gel Dehumidifier, The 6th International Conference on Science, Technology and Innovation for Sustainable Well-Being (STISWB VI), Cambodia’, (2014).

4. รางวัลดีเด่นผลงานตีพิมพ์ที่มี Impact Factor รวม ประจำปี 2556จัดโดยคณะวิศวกรรมศาสตร์ มทร.ธัญบุรี, (2014).

5. รางวัลระดับดีชื่อผลงานกังหันลมความเร็วลมต่ำลูกผสมวินด์มิลและวินด์เทอร์ไบน์โครงการประกวดผลงานวิจัยนวัตกรรมจัดโดยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี, (2017).

6. Popular Vote, ชื่อผลงานกังหันลมความเร็วลมต่ำลูกผสมวินด์มิลและวินด์เทอร์ไบน์โครงการประกวดผลงานวิจัยนวัตกรรมจัดโดยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี, (2017).

7. Silver Prize, Innovation name: Combined Windmill and Wind-turbine Blades Wind-Machine, 2017 SEOUL INTERNATIONAL INVENTION FAIR (SIIF), from Korea Invention Promotion Association, (2017).

8. Honorable Mention, from oral presention: ‘Boonrit Prasartkaew, A Novel Direct-Fired Porous-Medium Boiler, The 8th TSME International Conference on Mechanical Engineering, Thailand’, (2017).

9. The 2nd Poster Presentation Award, from poster presentation: B. Prasartkaew and N. Phuangpornpitak, An Experimental Study on the Performance of Multi-Purpose Solar Heating/Cooking System, 14th Eco-Energy and Materials Science and Engineering Symposium, (2018), Japan.

10. รางวัลนักวิจัยที่สร้างชื่อเสียงระดับชาติและนานาชาติ ประจำปี 2560 ในงานวันสถาปนามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี วันที่ 4 กรกฎาคม 2561

11. รางวัลเชิดชูเกียรตินักวิจัย ผู้มีผลงานจดสิทธิบัตรสูงสุด ประจำปี 2564 ประเภทสิทธิบัตรการประดิษฐ์ ในงานวันสถาปนามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี วันที่ 17 มกราคม 2565

 

สิทธิบัตรการประดิษฐ์:

1. บุณย์ฤทธิ์ ประสาทแก้ว, สิทธิบัตรการประดิษฐ์ เลขที่ 73449เตาเผาเชื้อเพลิงแข็งแบบใช้วัสดุพรุนและมีการสลับทิศทางการไหลของแก๊สเป็นจังหวะวดป. ที่ได้รับ 27 ธันวาคม 2562 (2019).

2. บุณย์ฤทธิ์ ประสาทแก้ว, สิทธิบัตรการประดิษฐ์ เลขที่ 75465เครื่องกำเนิดไอน้ำแบบเผาไหม้โดยตรงที่มีการส่งเสริมการถ่ายโอนความร้อนด้วยวัสดุพรุนวดป. ที่ได้รับ 1 เมษายน 2563 (2020).

3. บุณย์ฤทธิ์ ประสาทแก้ว, สิทธิบัตรการประดิษฐ์แก๊สซิไฟเออร์แบบไหลขวางที่มีการเพิ่มประสิทธิภาพโดยใช้วัสดุพรุนและมีการสลับทิศทางการไหลของแก๊สเป็นจังหวะวดป. ที่ขอ (2012).

4. บุณย์ฤทธิ์ ประสาทแก้ว, สิทธิบัตรการประดิษฐ์กังหันลมความเร็วลมต่ำลูกผสมวินด์มิลและวินด์เทอร์ไบน์วดป. ที่ขอ (2016).

5. บุณย์ฤทธิ์ ประสาทแก้ว, สิทธิบัตรการประดิษฐ์เครื่องยนต์ความร้อนวัฏจักรร่วมดีเซล-แรงคีน ที่มีการถ่ายโอนความร้อนด้วยวัสดุพรุนวดป. ที่ขอ (2017).

 

ตำรา/หนังสือ/เอกสารประกอบการสอน/เอกสารคำสอน:

1. Thermodynamics 1

2. Numerical Methods for Engineering

3. Internal Combustion Engines

4. Solar Energy Engineering

 

ประสบการณ์การเป็นอาจารย์ที่ปรึกษานักศึกษาระดับปริญญาโท-เอก:

เป็นอาจารย์ที่ปรึกษานักศึกษาระดับปริญญาโท 19 คน สำเร็จการศึกษาแล้ว จำนวน 12 คน

เป็นอาจารย์ที่ปรึกษานักศึกษาระดับปริญญาเอก 5 คน สำเร็จการศึกษาแล้ว จำนวน 1 คน

 

 

(ข้อมูล ณ วันที่ 7 เมษายน 2565)