ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ

Department of Industrial Engineering::Faculty of Engineering::RMUTT

  • Increase font size
  • Default font size
  • Decrease font size

Kittipong Kimapong

E-mail Print PDF

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. กิตติพงษ์ กิมะพงษ์

Kittipong KIMAPONG, Ph.D

ผู้ช่วยศาสตราจารย์และประธานหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิศวกรรมการผลิต

Assistant Professor and Chairman of Master Program in Production Engineering

โทรศัพท์/Telephone: 0 2549 3491 โทรสาร/Fax: 0 2549 3442
E-mail: This e-mail address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it

ประวัติการศึกษา Educational Background

ปริญญาเอก Doctor of Philosophy (Ph.D.) - Advanced Materials Science and Processing Systems Engineering, Niigata University, Niigata, JAPAN

ปริญญาโท สาขาเทคโนโลยีวัสดุ (วศ.ม), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

ปริญญาตรี วิศวกรรมอุตสาหการ-การผลิต (วศ.บ), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

รายวิชาสอนที่มีความชำนาญพิเศษ Expertise Coursework

  • เทคโนโลยีการเชื่อม Welding Technology
  • เทคโนโลยีการหล่อ Foundry Technology
  • เทคโนโลยีการขึ้นรูปโลหะแผ่น Metal Sheet Forming Technology

ผลงานทางวิชาการ Academic Work

ผลงานวิจัยที่ได้รับตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติและนานาชาติ Research Papers

[1] สมหมาย วันดี นิธิรัตน์ โพธิ์ทอง กิตติพงษ์ กิมะพงศ์ และ สมศักดิ์ อิทธิโสภณกุล. “การปรับปรุงระยะเวลาในการอบคงรูปชิ้นงานยางกันกระแทกต่อสมบัติความเป็น สปริงของยางโดยการติดตั้งชุดควบคุมความร้อนเพิ่มเติมที่ห้องพักยาง” วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 เล่มที่ 18 หน้า 82-91.

[2] กฤษณะ ปิยะพุทธานนท์ และ กิตติพงษ์ กิมะพงศ์ “อิทธิพลความเร็วรอบและความเร็วเดินในแนวเชื่อมการเสียดทานแบบกวน ต่อความแข็งแรงของรอยต่อเกยของอลูมิเนียมผสมเกรด 6063 และ 5052” รายงานการประชุมการประชุมวิชาการทางวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ ครั้งที่ 7 จังหวัดสงขลา 21-22 พฤษภาคม 2552 หน้า 411-415.

[3] กิตติพงษ์ กิมะพงศ์ “การประยุกต์การเชื่อมด้วยการเสียดทานแบบกวนในการเชื่อมรอยต่อระหว่างอลูมิ เนียมผสมและเหล็กกล้า” รายงานการประชุมการประชุมวิชาการทางวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ ครั้งที่ 7 จังหวัดสงขลา 21-22 พฤษภาคม 2552 หน้า 521-526.

[4] ประจักษ์ อ่างบุญตา บุญส่ง จงกลนี และ กิตติพงษ์ กิมะพงศ์. “อิทธิพลตัวแปรการเชื่อมแบบหมุนวนอิเลกโทรดต่อสมบัติของโลหะเชื่อมหล็กกล้า ไร้สนิม 304” รายงานการประชุมการประชุมวิชาการทางวิศวกรรม ศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ ครั้งที่ 7 จังหวัดสงขลา 21-22 พฤษภาคม 2552 หน้า 533-538.

[5] ณัฐ แก้วสกุล และ กิตติพงษ์ กิมะพงศ์. “การเชื่อมด้วยการเสียดทานแบบกวนรอยต่ออลูมิเนียม 6063 และเหล็กกล้าไร้สนิม 304” วิศวกรรมสารฉบับวิจัยและพัฒนา ปีที่ 20 ฉบับที่ 1 หน้า 79-86.

[6] กิตติพงษ์ กิมะพงศ์ และ นราธิป แสงซ้าย และสงกรานต์ บางศรัณย์ทิพย์ “อิทธิพลรูปร่างตัวกวนการเชื่อมด้วยการเสียดทานแบบกวนต่อความต้านทานแรงดึง ของรอยต่อชนอลูมิเนียม AA6063-T1” วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม ปีที่ 9 ฉบับที่ 2 เล่มที่ 17 หน้า 19-25.

[7] กิตติพงษ์ กิมะพงศ์. “การเชื่อมด้วยการเสียดทานแบบจุดของรอยต่อเกยอลูมิเนียมผสมเกรด 1100 และเหล็กกล้าไร้สนิม 304” วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 เล่มที่ 15 หน้า 56-61.

[8] กิตติพงษ์ กิมะพงศ์. “อิทธิพลความเร็วเดินแนวของการเชื่อมด้วยการเสียดทานแบบกวนต่อความแข็งแรง ดึงของรอยต่อชนอลูมิเนียม 6063-T1” วิศวกรรมสารฉบับวิจัยและพัฒนา ปีที่ 19 ฉบับที่ 3 หน้า 47-51.

[9] กิตติพงษ์ กิมะพงศ์. “อิทธิพลรูปร่างตัวกวนการเชื่อมด้วยการเสียดทานแบบกวนต่อความต้านทานแรงดึง ของรอยต่ออลูมิเนียม 6063-T1 และเหล็กกล้า AISI1015” วารสารวิศวกรรมศาสตร์ ราชมงคลธัญบุรี ปีที่ 5 ฉบับที่ 9 หน้า 61-67.

[10] กิตติพงษ์ กิมะพงศ์. “การเชื่อมฟริกชั่นสเตอร์เกรด A5083 และเหล็กกล้าคาร์บอนเกรด SS400” วิศวกรรมสารฉบับวิจัยและพัฒนา ปีที่ 18 ฉบับที่ 2 หน้า 64-68.

[11] กิตติพงษ์ กิมะพงศ์ และอนินท์ มีมนต์. “อิทธิพลตัวแปรการเชื่อมฟริกชั่นสเตอร์ต่อกลสมบัติรอยต่อเกยอลูมิเนียมผสม และเหล็กกล้า” วารสารวิศวกรรมศาสตร์ ราชมงคลธัญบุรี ปีที่ 4 ฉบับที่ 8 หน้า 54-63.

[12] กิตติพงษ์ กิมะพงศ์ อนินท์ มีมนต์ และ ประกอบ บุญยงค์. “โครงสร้างจุลภาคและกลสมบัติของรอยต่อ ฟริกชั่นสเตอร์ของอลูมิเนียมและเหล็ก” วิทยาสารกำแพงแสน ปีที่ 4 ฉบับพิเศษ ธันวาคม 2549 หน้า 174-181.

[13] กิตติพงษ์ กิมะพงศ์ อนินท์ มีมนต์ และ ประกอบ บุญยงค์. “การศึกษาสมบัติของรอยต่อเกยการเชื่อมฟริกชั่นสเตอร์แบบหลายแนวของอลูมิ เนียมและเหล็ก” วิทยาสารกำแพงแสน ปีที่ 4 ฉบับพิเศษ ธันวาคม 2549 หน้า 182-189.

[14] กิตติพงษ์ กิมะพงศ์ และอนินท์ มีมนต์. “อิทธิพลตัวแปรการเชื่อมฟริกชั่นสเตอร์ต่อกลสมบัติรอยต่อชนอลูมิเนียมและ เหล็กกล้า” วารสารวิศวกรรมศาสตร์ ราชมงคลธัญบุรี ปีที่ 4 ฉบับที่ 7 หน้า 1-5.

[15] กิตติพงษ์ กิมะพงศ์ อนินท์ มีมนต์ และ ประกอบ บุญยงค์. “อิทธิพลการเชื่อมฟริกชั่นสเตอร์หลายแนวต่อกลสมบัติของรอยต่อเกยอลูมิเนียม และเหล็ก” วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม ฉบับพิเศษ หน้า 63-68.

[16] Kittipong Kimapong and Takehiko Watanabe. ”Effect of Welding Process Parameters on Mechanical Property of FSW Lap Joint between Aluminum and Steel”, Materials Transaction Volume 46 Issue 10 (2005) 2211-2217.

[17] Kittipong Kimapong and Takehiko Watanabe. ”Lap Joint of A5083 Aluminum Alloy and SS400 Steel by Friction Stir Welding”, Materials Transaction Volume 46 Issue 4 (2005) 835-841.

[18] Kittipong Kimapong and Takehiko Watanabe. ”Friction Stir Welding of Aluminum Alloy to Steel”, Welding Journal Volume 83 issue 10 (2004) 277s-282s.

[19] Takehiko Watanabe, Hirofumi Takayama and Kittipong Kimapong. “Joining of Steel to Aluminum Alloy by Inteface-activated Adhesion Welding”, Materials Science Forum 426-432 (2003) 4129-4134.

[20] สมหมาย วันดี นิธิรัตน์ โพธิ์ทอง สมศักดิ์ อิทธิโสภณกุล และ กิตติพงษ์ กิมะพงศ์. “อิทธิพลของอุณหภูมิในการอบยางต่อสมบัติเชิงพลวัตและระยะเวลาในการอบคงรูป ของชิ้นงานยาง” การประชุมวิชาการข่ายงานวิศวกรรมอุตสาหการ ประจำปี 2551, 22-24 ตุลาคม, สงขลา, หน้า 846-851.

[21] ธวัช หมีเฟื่อง และ กิตติพงษ์ กิมะพงศ์. “อิทธิพลตัวแปรการเชื่อมด้วยการเสียดทานแบบจุดต่อสมบัติของรอยต่อเกยระหว่า งอลูมิเนียม 5052 และเหล็กกล้าไร้สนิม 430” การประชุมวิชาการข่ายงานวิศวกรรมอุตสาหการ ประจำปี 2551, 22-24 ตุลาคม, สงขลา, หน้า 834-839.

[22] มณฑียรชัย กลั่นบุปผา กิตติพงษ์ กิมะพงศ์ และ สรพงษ์ ภวสุปรีย์. “การศึกษาผลกระทบของไททาเนียมออกไซด์ขนาดไมโครเมตรและขนาดนาโนเมตรในเส้นใย โพลีโพรพิลีนที่มีต่อสมบัติการทนแรงดึง การต่อต้านแบคทีเรียและสมบัติความร้อน” การประชุมวิชาการข่ายงานวิศวกรรมอุตสาหการ ประจำปี 2551, 22-24 ตุลาคม, สงขลา, หน้า 781-786.

[23] ธรรมนูญ อินทรพล และ กิตติพงษ์ กิมะพงศ์. “ศึกษาตัวแปรการเชื่อมเลเซอร์เทเลอร์แบล็งค์ต่อการยืดตัวของรอยต่อชนแผ่น เหล็กเคลือบสังกะสี เกรด SGACD” การประชุมวิชาการข่ายงานวิศวกรรมอุตสาหการ ประจำปี 2551, 22-24 ตุลาคม, สงขลา, หน้า 775-780.

[24] เทอดศักดิ์ เกี้ยวสันเที๊ยะ และ กิตติพงษ์ กิมะพงศ์. “อิทธิพลของความเร็วรอบการหมุนวนอิเลคโทรดต่อการลดขนาดเกรนของรอยเชื่อมทิก เหล็กกล้าไร้สนิม 304” การประชุมวิชาการข่ายงานวิศวกรรมอุตสาหการ ประจำปี 2551, 22-24 ตุลาคม, สงขลา, หน้า 734-739.

[25] นราธิป แสงซ้าย สงกรานต์ บางศรัณย์ทิพย์ และ กิตติพงษ์ กิมะพงศ์. “อิทธิพลรูปร่างตัวกวนการเชื่อมด้วยการเสียดทานแบบกวนต่อความต้านทานแรงดึง ของรอยต่อชนอลูมิเนียม AA6063-T1” การประชุมวิชาการข่ายงานวิศวกรรมอุตสาหการ ประจำปี 2551, 22-24 ตุลาคม, สงขลา, หน้า 718-723.

[26] กิตติพงษ์ กิมะพงศ์. “การเชื่อมด้วยการเสียดทานแบบกวน: การแก้ปัญหาการต่อวัสดุที่ยากต่อการเชื่อมหลอมละลาย” การประชุมวิชาการข่ายงานวิศวกรรมอุตสาหการ ประจำปี 2551, 22-24 ตุลาคม, สงขลา, หน้า 712-717.

[27] ธรรมนูญ อินทรพล และ กิตติพงษ์ กิมะพงศ์. “อิทธิพลของตัวแปรการเชื่อมเลเซอร์ต่อสมบัติทางกลของรอยต่อชนแผ่นเทเลอร์แบ ล็งค์เหล็กเคลือบสังกะสี เกรด SGACD” รายงานการประชุม การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ครั้งที่ 6 จังหวัดสงขลา 8-9 พฤษภาคม 2551 หน้า 579-583.

[28] สมหมาย วันดี นิธิรัตน์ โพธิ์ทอง และ กิตติพงษ์ กิมะพงศ์. “อิทธิพลของอุณหภูมิในการอบยางต่อสมบัติความเป็นสปริงและระยะเวลาในการอบคง รูปของชิ้นงานยาง” รายงานการประชุม การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ครั้งที่ 6 จังหวัดสงขลา 8-9 พฤษภาคม 2551 หน้า 573-578.

[29] ณัฐ แก้วสกุล เรวัตร ซ่อมสุข และ กิตติพงษ์ กิมะพงศ์. “อิทธิพลตัวแปรการเชื่อมด้วยการเสียดทานแบบกวนต่อสมบัติทางกลของรอยต่ออลูมิ เนียม 6063 และเหล็กกล้าไร้สนิม 304” รายงานการประชุม การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ครั้งที่ 6 จังหวัดสงขลา 8-9 พฤษภาคม 2551 หน้า 567-572.

[30] พันธุ์พงษ์ คงพันธุ์ บุญส่ง จงกลนี และ กิตติพงษ์ กิมะพงศ์. “อิทธิพลความเร็วเดินแนวของการเชื่อมด้วยการเสียดทานแบบกวนต่อความแข็งแรงง ของรอยต่อชนอลูมิเนียม 6063-T1” รายงานการประชุม การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ครั้งที่ 6 จังหวัดสงขลา 8-9 พฤษภาคม 2551 หน้า 561-566.

[31] กิตติพงษ์ กิมะพงศ์ บุญส่ง จงกลนี และ สมควร แววดี. “อิทธิพลรูปร่างตัวกวนการเชื่อมด้วยการเสียดทานแบบกวนต่อความต้านทานแรงดึง ของรอยต่ออลูมิเนียม 6063-T1 และเหล็กกล้า AISI1015” รายงานการประชุม การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ครั้งที่ 6 จังหวัดสงขลา 8-9 พฤษภาคม 2551 หน้า 555-560.

[32] เทอดศักดิ์ เกี๊ยวสันเที๊ยะ และ กิตติพงษ์ กิมะพงศ์. “อิทธิพลการหมุนอิเลกโทรดของการเชื่อมทิกต่อการลดขนาดเกรนแนวเชื่อมเหล็ก กล้าไร้สนิม 304” การประชุมวิชาการ ราชมงคลอีสานวิชาการครั้งที่ 1 9-11 มกราคม 2551 จังหวัดนครราชสีมา หน้า 287-294.

[33] ธวัช หมีเฟื่อง และ กิตติพงษ์ กิมะพงศ์. “โครงสร้างจุลภาคและความแข็งแรงเฉือนรอยต่อเกยอลูมิเนียม 5052 และเหล็กกล้าไร้สนิม 430” การประชุมวิชาการ ราชมงคลอีสานวิชาการครั้งที่ 1 9-11 มกราคม 2551 จังหวัดนครราชสีมา หน้า 280-286.

[34] กิตติพงษ์ กิมะพงศ์. “รูปแบบการกัดกร่อนของรอยเชื่อมต่อเกยด้วยการเสียดทานแบบกวนระหว่างอลูมิ เนียมผสมและเหล็กกล้าคาร์บอนในสารละลายโซเดียมคลอไรด์” การประชุมวิชาการ ราชมงคลอีสานวิชาการครั้งที่ 1 9-11 มกราคม 2551 จังหวัดนครราชสีมา หน้า 265-271.

[35] สมศักดิ์ ศรีป่าหมาก และ กิตติพงษ์ กิมะพงศ์. “อิทธิพลความเร็วเดินแนวเชื่อมต่อสมบัติของรอยต่อชนอลูมิเนียม 6063-T1 ด้วยการเชื่อมด้วยการเสียดทานแบบกวน” การประชุมวิชาการ ราชมงคลอีสานวิชาการครั้งที่ 1 9-11 มกราคม 2551 จังหวัดนครราชสีมา หน้า 258-264.

[36] กิตติพงษ์ กิมะพงศ์. “พฤติกรรมการกัดกร่อนของรอยเชื่อมต่อเกยด้วยการเสียดทานแบบกวนระหว่างอลูมิ เนียมผสมและเหล็กกล้าคาร์บอน” การประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ครั้งที่ 4 6-7 ธันวาคม 2550 จังหวัดนครปฐม หน้า 300-307.

[37] กิตติพงษ์ กิมะพงศ์. “อิทธิพลตัวแปรการเชื่อมด้วยการเสียดทานแบบจุดต่อความแข็งแรงรอยต่อเกยอลูมิ เนียม 1100 และเหล็กกล้าไร้สนิม 304” การประชุมวิชาการข่ายงานวิศวกรรมอุตสาหการ ประจำปี 2550, 24-26 ตุลาคม, ภูเก็ต, หน้า 539-544.

[38] Kittipong Kimapong Varaya Wattanajitsiri and Presert Hachanon. “Factor Affecting FSW A5083 Aluminum and SS400 Steel Lap Joint Properties” Mining, In Proceeding of Materials and Petroleum Engineering, May 10-11, 2007, Phuket, THAILAND, In CD-ROM.

[39] กิตติพงษ์ กิมะพงศ์ อนินท์ มีมนต์ ประกอบ บุญยงค์ สมศักดิ์ อิทธิโสภณกุล และณัฐ แก้วสกุล. “ความต้านทานแรงดึงและตำแหน่งการพังทลายของรอยต่อชนอลูมิเนียมและเหล็กกล้า โดยการเชื่อมด้วยการเสียดทานแบบกวน” รายงานการประชุม การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ครั้งที่ 5 10-11 พฤษภาคม 2550 จังหวัดภูเก็ต แผ่นซีดีรอม.

[40] กิตติพงษ์ กิมะพงศ์ อนินท์ มีมนต์ ประกอบ บุญยงค์ สมศักดิ์ อิทธิโสภณกุล และณัฐ แก้วสกุล. “การเชื่อมรอยต่อเกยอลูมิเนียมผสมและเหล็กกล้าด้วยการเสียดทานแบบกวน: รายงานที่ 1 อิทธิพลตัวแปรการเชื่อมต่อกลสมบัติของรอยต่อเกย” รายงานการประชุม การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมศาสตร์มหาวิทยาลัยสงขลา นครินทร์ ครั้งที่ 5 10-11 พฤษภาคม 2550 จังหวัดภูเก็ต แผ่นซีดีรอม.

[41] Kittipong Kimapong. “Effect of FSW Parameters on Aluminum and Steel Lap Joint Properties”, In Proceeding of The First South-East Asia IIW- Welding in South East Asia: A Challenge for the Future, November 9-10, 2006, Bangkok, THAILAND, pp. 673-680.

[42] กิตติพงษ์ กิมะพงศ์ อนินท์ มีมนต์ และ ประกอบ บุญยงค์. “การเชื่อมฟริกชั่นสเตอร์รอยต่อชนอลูมิเนียมผสมและเหล็ก” เทพสตรีวิจัย ครั้งที่ 1 17-18 สิงหาคม 2549 มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี จังหวัดลพบุรี หน้า 1-5.

[43] Kittipong Kimapong and Takehiko Watanabe. ”Effect of Welding Parameters on FSW Al/Fe Lap Joint Properties”, In Proceeding of International Symposium on Joining Technologies in Advanced Automobile Assembly”, October 13-14, 2005, Tokyo, JAPAN, 233-240.

[44] Kittipong Kimapong and Takehiko Watanabe. ”Lap Joint of A5083 Aluminum Alloy and SS400 Steel by Friction Stir Welding”, In Proceeding of International Conference on New Frontiers of Processing Science and Engineering in Advanced Materials, November 24-26, 2004, Kyoto, JAPAN, 513-518.

[45] Kittipong Kimapong, Takehiko Watanabe and Masayuki Nakagawa. ”Lap Joint of A5083 Aluminum Alloy and SS400 Steel by Friction Stir Welding”, In Proceeding of Aerospace Materials and Manufacturing, August 22-25, 2004, Hamilton, CANADA, 211-224.

งานวิจัยที่ตีพิมพ์เผยแพร่ Published Research Papers

  1. 2552   "อิทธิพลของความเร็วรอบการหมุนวนอิเลคโทรดต่อการลดขนาดเกรนของรอยเชื่อม ทิกเหล็กกล้าไร้สนิท 304" วารสารที่ตีพิมพ์ : การประชุมวิชาการข่ายงานวิศวกรรมอุตสาหการประจำปี 2551 20-22 ต.ค.51 734-739.
  2. 2552   "อิทธิพลของอุณหภูมิในการอบยางต่อสมบัติเชิงพลวัตและระยะเวลาในการอบคงรูป ของชิ้นงายาง" วารสารที่ตีพิมพ์ : การประชุมวิชาการข่ายงานวิศวกรรมอุตสาหการประจำปี 2551 20-22 ต.ค.51 846-851.
  3. 2552   "อิทธิพลตัวแปรการเชื่อมด้วยการเสียดทานแบบจุดต่อสมบัติของรอยต่อเกยระ หว่างอลูมิเนียม 5052 และเหล็กกล้าไร้สนิม 430" วารสารที่ตีพิมพ์ : การประชุมวิชาการข่ายงานวิศวกรรมอุตสาหการประจำปี 2551 20-22 ต.ค.51 834-839
  4. 2552   "การศึกษาตัวแปรการเชื่อมเลเซอร์เทเลอร์แบล็งค์ต่อการยึดตัวของรอยต่อชน แผ่นเหล็กเคลือสังกะสี เกรพ SGACD" วารสารที่ตีพิมพ์ : การประชุมวิชาการข่ายงานวิศวกรรมอุตสาหการประจำปี 2551 20-22 ต.ค.51 99-104
  5. 2552   "การศึกษาผลกระทบของไททาเนียมไดออกไซด์ขนาดไมโครเมตรและขนาดนาโนเมตรใน เส้นใยโพลีโพรพิลีนทีมีต่อสมบัติการทนต่อแรงดึงการต่อต้านแบคทีเรียและ สมบัติทางความร้อน" วารสารที่ตีพิมพ์ : การประชุมวิชาการข่ายงานวิศวกรรมอุตสาหการประจำปี 2551 20-22 ต.ค.51 781-784
  6. 2550   "ความต้านทานแรงดึงและตำแหน่งการพังทลายของรอยต่อชนอลูมิเนียมและเหล็ก กล้าโดยการเชื่อมด้วยการเสียดทานแบบกวน" วารสารที่ตีพิมพ์ : ICEE-2007 & PEC-5-UNS International Conference on Engineering and Environment & The 5 th PSU engineering Conference, Phuket,Thailand 10-11 พ.ค.50 237-241
  7. 2550   "การเชื่อมรอยต่อเกยอลูมิเนียมผสมและเหล็กกล้าด้วยการเสียดทานแบบก วน:รายงานที่ 1 อิทธิพลตัวแปรการเชื่อมต่อกลสมบัติของรอยต่อเกย" วารสารที่ตีพิมพ์ : ICEE-2007 & PEC-5-UNS International Conference on Engineering and Environment & The 5 th PSU engineering Conference, Phuket,Thailand 10-11 พ.ค.50 230-235
  8. 2550   "โครงสร้างจุลภาคและกลสมบัติของรอยต่อฟริกชั่นสเตอร์ของอลูมิเนียมและ เหล็ก" วารสารที่ตีพิมพ์ : การประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ครั้งที่ 3 6-7 ธ.ค.49 174-181
  9. 2550   "การศึกษาสมบัติของรอยต่อเกยการเชื่อม ฟริกชั่นสเตอร์หลายแนวของอลูมิเนียมและเหล็ก" วารสารที่ตีพิมพ์ : การประชุมวิชาการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ครั้งที่ 3 6-7 ธ.ค.49 182-189
  10. 2550   "Factor Affecting FSW A5083 Aluminum and SS400 Steel Lap Joint Properties" วารสารที่ตีพิมพ์ : ICFT 2007 Mining Materials and Petroleum Engineering, The Frontiers of Technology, Phudet,Thailand 10-12 พ.ค.50 271-275
  11. 2550   "Effect of FSW Parameters onAluminum and Steel Lap Joint Properties" วารสารที่ตีพิมพ์ : The First South-East Asia International Institute of Welding Congress, Bangkok,Thailand 21-23 พ.ย.49 673-680
  12. 2551   "อิทธิพลรูปร่างตัวกวนการเชื่อมด้วยการเสียดทานแบบกวนต่อความต้านทานแรง ดึงของรอยต่ออลูมิเนียม 6063-T1 และเหล็กกล้า AISI1015" วารสารที่ตีพิมพ์ : การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ครั้ง 6 8-9 พ.ค.51 555-560
  13. 2551   "อิทธิพลความเร็วเดินแนวของการเชื่อมด้วยการเสียดทานแบบกวนต่อความแข็งแรง ดึงของรอยต่อชนอลูมิเนียม 6063-T1" วารสารที่ตีพิมพ์ : การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ครั้ง 6 8-9 พ.ค.51 561-565
  14. 2551   "อิทธิพลตัวแปรการเชื่อมด้วยการเสียดทานแบบกวนต่อสมบัติทางกลของรอยต่ออลู มิเนียม 6063 และเหล็กกล้าไร้สนิม 304" วารสารที่ตีพิมพ์ : การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ครั้ง 6 8-9 พ.ค.51 567-572
  15. 2551   "อิทธิพลของอุณภูมิในการอบยางต่อสมบัติความเป็นสปริงและระยะเวลาในการอบคง รูปของชิ้นงานยาง" วารสารที่ตีพิมพ์ : การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ครั้ง 6 8-9 พ.ค.51 573-578
  16. 2551   "อิทธิพลของตัวแปรการเชื่อมเลเซอร์ต่อสมบัติทางกลของรอยต่อชนแผ่นเทเลอร์ แบล็งค์เหล็กเคลือบสังกะสี เกรด SGACD" วารสารที่ตีพิมพ์ : การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ครั้ง 6 8-9 พ.ค.51 579-583

โครงการงานวิจัยตั้งแต่ปี 2548 - ปัจจุบัน Research Projects since 2003

โครงการวิจัยที่เป็นหัวหน้าโครงการ Research Project as Project Leader

โครงการวิจัยที่เป็นผู้ร่วมวิจัย Research Project as Co-researcher

  • พ.ศ. 2552 การปรับปรุงคุณภาพรอยเชื่อมการเสียดทานแบบกวนรอยต่อชนอลูมิเนียม 6063-T1 ในโครงสร้างรถยนต์ด้วยตัวกวนหลายรูปแบบ
  • พ.ศ. 2552 อิทธิพลสารละลายโซเดียมคลอไรด์ต่ออัตราการกัดกร่อนในรอยต่อเกยระหว่างอลูมิเนียมและเหล็กในอุตสาหกรรมรถยนต์

Research Project as Project Leader

  1. รางวัลคุณภาพงานวิจัยดีเด่น งานสัมมนาทางวิชาการและประชุมวิชาการ งานเกษตรกำแพงแสน 2549 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ระหว่างวันที่ 6-8 ธันวาคม 2549
  2. รางวัลชนะเลิศบทความดีเด่น ประเภทการวิจัยประยุกต์ การประชุมวิชาการทางวิศวกรรมศาสตร์ ครั้งที่ 7 ระหว่างวันที่ 21-22 พฤษภาคม 2552

Dedicated Cloud Hosting for your business with Joomla ready to go. Launch your online home with CloudAccess.net.